สืบสานประเพณีไทย ตราบนานเท่านาน
  • 15 ผู้คนไลค์สิ่งนี้
  • ข้อมูลการศึกษา
อัปเดตล่าสุด
  • บทสวดนมัสการบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สังฆัง นะมามิ (กราบ)

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ



    เป็นการรำลึกถึงพระพุทธคุณเบื้องต้นก่อนสวดมนต์ บูชาพระ หรือทำพิธีการต่าง ๆ

    บทสวดขอขมาพระรัตนตรัย
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ )ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ (กราบ) แบบที่ 1
    อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัชชะขะมามิ ยะถาพาเล ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฎิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ เถเรปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะกะตัง สัพพัง อะปะราทังขะมามิภันเต
    ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอขมาโทษ ต่อพระรัตนตรัย ที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้สบประมาทพลาดพลั้ง ต่อพระพุทธ ต่อพระธรรม ต่อพระสงฆ์ สมัยเป็นคนพาลคนหลง อกุศลเข้าสิงจิต ให้ทำความผิดต่อพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผิดต่อคุณครูอาจารย์ ผิดต่อหลวงพ่อ หลวงปู่ หลวงน้า หลวงอา หลวงพี่ทั้งหลาย ขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป อย่ามีเวร เกิดชาติหนึ่งภพใด ขอให้ได้สร้างแต่กรรมดี สร้างบารมีของตน ให้พ้นภัยพาล ลุล่วงบ่วงมาร ในชาติปัจจุบันกาลนี้เทอญฯ

    (บางที่กล่าวบทสวดนี้ว่า : อุกาสะ อุกาสะ อัจจะโยโนภันเต อัจจักคะมา ยะถาพาเล ยะถามูลเห ยะถาอะกุสะเล เยมะยัง กะรัมหา เอวัง ภัณเต มะยัง อัจจะโยโน ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามะฯ )

    แบบที่ 2

    วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
    วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
    วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์จงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
    ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรมเพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
    ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่้ข้าพเจ้าด้วยเถิด

    แบบที่ 3

    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ (ถ้าหลายคนว่า.....ขะมะตุ โน ภันเต, ฯลฯ.... , ขะมะตุ โน ภันเต , อุกาสะ ขะมามะ ภันเต ฯ ) หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยทางกายหรือวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดลดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้าตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ ฯ

    แบบที่ 4

    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ,
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง, ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม,
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า, ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้าในกาลต่อไป
    ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระธรรมในกาลต่อไป
    ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์, ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ในกาลต่อไป

    บทสวดบูชาไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    (ต่อไปพระผู้นำกล่าวรับว่า)
    อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ
    สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
    สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย

    พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต
    ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
    สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห
    ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ

    พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
    ปูริสะทัมมสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ)
    ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (กราบ)
    สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)

    พระคาถายอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก
    1.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา

    2.
    อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ
    โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ
    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ

    3.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา

    4.
    อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    พุทธัง สิระสา นะมามิ

    5.
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา

    6.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

    7.
    อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    8.
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    9.
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

    10.
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

    11.
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    12.
    กุสะลา ธัมมา
    อิติปิ โส ภะคะวา
    อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ชมภูทีปัญจะอิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    นะโม พุทธายะ
    นะโม ธัมมายะ
    นะโม สังฆายะ
    ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง
    อา ปา มะ จุ ปะ
    ที มะ สัง อัง ขุ
    สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
    อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ
    โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ
    อิ สวา สุ สุ สวา อิ
    กุสะลา ธัมมา
    จิตติวิอัตถิ

    13.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง
    อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    สา โพธิ ปัญจะ อิสาะโร ธัมมา

    14.
    กุสะลา ธัมมา
    นันทะวิวังโก
    อิติ สัมมาพุทโธ
    สุ คะ ลา โน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน
    อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตาวะติงสา อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู
    มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ยามา อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    พรหมมาสัททะ
    ปัญจะ สัตตะ
    สัตตาปาระมี
    อะนุตตะโร
    ยะมะกะขะ
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    15.
    ตุสิตา อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    ปุ ยะ ปะ กะ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    16.
    นิมมานะระติ อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    เหตุโปวะ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง
    ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    17.
    ปะระนิมมิตะ อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    สังขาระขันโธ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
    รูปะขันโธ พุทธะปะผะ
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    18.
    พรหมมา อิสสะโร
    กุสะลา ธัมมา
    นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    นะโม พุทธัสสะ
    นะโม ธัมมัสสะ
    นะโม สังฆัสสะ
    พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

    19.
    นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
    วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
    อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    20.
    อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง
    พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง
    จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง
    เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
    อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง
    มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง
    สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง
    พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง
    อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา
    อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ

    21.
    สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง
    โมกขัง คุยหะกัง
    ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง
    สิริรูปัง จะตุวีสะติเสนัง
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    22.
    นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
    สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
    นะโม อิติปิโส ภะคะวา

    23.
    นะโม พุทธัสสะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
    สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
    นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

    24.
    นะโม ธัมมัสสะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
    สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
    นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

    25.
    นะโม ธัมมัสสะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
    สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
    นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

    26.
    นะโม สังฆัสสะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
    สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
    นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง

    27.
    นะโม พุทธายะ
    มะอะอุ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
    ยาวะ ตัสสะ หาโย
    นะโม อุอะมะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
    อุ อะมะ อาวันทา
    นะโม พุทธายะ
    นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ
    อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

    ยอดพระกัณฑ์ฉบับนี้ ได้มาจากต้นฉบับเดิมที่จารไว้บนใบลานเป็นอักษรขอมซึ่ง เปิดกรุครั้งแรกที่เมืองสวรรคโลก มีบันทึกเอาไว้ว่าผู้ใดสวดมนต์เป็นประจำทุกเช้าเย็น จะป้องกันภัยอันตรายต่างๆได้รอบด้าน ภาวนาพระคาถาอื่นสัก 100 ปีก็ไม่เท่ากับอานิสงส์ของการสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎกนี้เพียงครั้งเดียว ผู้ใดที่สวดครบ 7 วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตัวเอง จะมีโชคลาภ ทำมาค้าขายรุ่งเรือง ปราศจากภัยพิบัติทั้งปวง

    บทสวดธัมมะจักร
    ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง
    ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ . อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ

    ธัมมะจักรนี้ถ้าท่านใดได้สวดจะทำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นกิจการงาน แขนงไหนที่ทำอยู่จะมีความเจริญก้าวหน้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโปรดนักบวชปัญจวคีย์ และยังเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็นการลำบากที่ผู้คนทั้งหลายจะได้สวด และยังจะเป็นการเปลื้องทุกข์ภัยต่างๆ นานาได้อีกด้วย สิ่งร้ายจะกลายเป็นดีและยังทำให้มีอายุยืน มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย

    บทสวดแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
    สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ
    อัพพะยาปัชฌา โหนตุ
    อะนีฆา โหนตุ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

    คำแปล

    สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
    จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

    สำหรับแผ่ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    บทสวดนมัสการบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ เป็นการรำลึกถึงพระพุทธคุณเบื้องต้นก่อนสวดมนต์ บูชาพระ หรือทำพิธีการต่าง ๆ บทสวดขอขมาพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ )ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ (กราบ) แบบที่ 1 อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัชชะขะมามิ ยะถาพาเล ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฎิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ เถเรปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะกะตัง สัพพัง อะปะราทังขะมามิภันเต ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอขมาโทษ ต่อพระรัตนตรัย ที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้สบประมาทพลาดพลั้ง ต่อพระพุทธ ต่อพระธรรม ต่อพระสงฆ์ สมัยเป็นคนพาลคนหลง อกุศลเข้าสิงจิต ให้ทำความผิดต่อพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผิดต่อคุณครูอาจารย์ ผิดต่อหลวงพ่อ หลวงปู่ หลวงน้า หลวงอา หลวงพี่ทั้งหลาย ขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป อย่ามีเวร เกิดชาติหนึ่งภพใด ขอให้ได้สร้างแต่กรรมดี สร้างบารมีของตน ให้พ้นภัยพาล ลุล่วงบ่วงมาร ในชาติปัจจุบันกาลนี้เทอญฯ (บางที่กล่าวบทสวดนี้ว่า : อุกาสะ อุกาสะ อัจจะโยโนภันเต อัจจักคะมา ยะถาพาเล ยะถามูลเห ยะถาอะกุสะเล เยมะยัง กะรัมหา เอวัง ภัณเต มะยัง อัจจะโยโน ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามะฯ ) แบบที่ 2 วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์จงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรมเพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่้ข้าพเจ้าด้วยเถิด แบบที่ 3 สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ (ถ้าหลายคนว่า.....ขะมะตุ โน ภันเต, ฯลฯ.... , ขะมะตุ โน ภันเต , อุกาสะ ขะมามะ ภันเต ฯ ) หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยทางกายหรือวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดลดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้าตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ ฯ แบบที่ 4 กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ, กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง, ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม, กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า, ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้าในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระธรรมในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์, ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ในกาลต่อไป บทสวดบูชาไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ (ต่อไปพระผู้นำกล่าวรับว่า) อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มหาปัญโญ สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปูริสะทัมมสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ) ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (กราบ) สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ) พระคาถายอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก 1. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา 2. อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ สุคะตัง สิระสา นะมามิ โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ 3. อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา 4. อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ พุทธัง สิระสา นะมามิ 5. อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา 6. อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 7. อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 8. อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 9. อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 10. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 11. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 12. กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชมภูทีปัญจะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อัง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ อิ สวา สุ สุ สวา อิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ 13. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สา โพธิ ปัญจะ อิสาะโร ธัมมา 14. กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาพุทโธ สุ คะ ลา โน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมมาสัททะ ปัญจะ สัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 15. ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุ ยะ ปะ กะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 16. นิมมานะระติ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 17. ปะระนิมมิตะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 18. พรหมมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ 19. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ 20. อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ 21. สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติเสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ 22. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา 23. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 24. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 25. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 26. นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง 27. นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโย นะโม อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุ อะมะ อาวันทา นะโม พุทธายะ นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยอดพระกัณฑ์ฉบับนี้ ได้มาจากต้นฉบับเดิมที่จารไว้บนใบลานเป็นอักษรขอมซึ่ง เปิดกรุครั้งแรกที่เมืองสวรรคโลก มีบันทึกเอาไว้ว่าผู้ใดสวดมนต์เป็นประจำทุกเช้าเย็น จะป้องกันภัยอันตรายต่างๆได้รอบด้าน ภาวนาพระคาถาอื่นสัก 100 ปีก็ไม่เท่ากับอานิสงส์ของการสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎกนี้เพียงครั้งเดียว ผู้ใดที่สวดครบ 7 วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตัวเอง จะมีโชคลาภ ทำมาค้าขายรุ่งเรือง ปราศจากภัยพิบัติทั้งปวง บทสวดธัมมะจักร ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ . อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ ธัมมะจักรนี้ถ้าท่านใดได้สวดจะทำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นกิจการงาน แขนงไหนที่ทำอยู่จะมีความเจริญก้าวหน้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโปรดนักบวชปัญจวคีย์ และยังเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็นการลำบากที่ผู้คนทั้งหลายจะได้สวด และยังจะเป็นการเปลื้องทุกข์ภัยต่างๆ นานาได้อีกด้วย สิ่งร้ายจะกลายเป็นดีและยังทำให้มีอายุยืน มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย บทสวดแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ อัพพะยาปัชฌา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ คำแปล สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ สำหรับแผ่ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    1
    0 ความคิดเห็น 0 เเชร์
  • 1
    0 ความคิดเห็น 0 เเชร์
  • 1
    0 ความคิดเห็น 0 เเชร์
เรื่องราวเพิ่มเติม